วันพุธที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

Blog ของเพื่อนๆ

1. นางสาวปณิฎฐา เกลียวสัมพันธ์ใจ 5520600937

2. นางสาวมนัสวี แก้วผลึก 5520600953

3. นางสาวกฤชชุดา เทพพิทักษ์ 5520601925

4. นางสาวปารมี ศิรวัชรินทร์ 5520601968

5. นางสาว นภาพร บัวน้อย 5520601950

6. นางสาวอังคณา เมืองสมบัติ 55206021107

7. นางสาวจาริยา แสงมฤค 5520600384

8. นายชลธร จินดา 5520602093

9. นางสาว หทัยรัตน์ โพธิ์เงิน 5520600392

10. นางสาวหัชศต์ฌล ผาติพัศธนันท์ 5520602247

11. นางสาวณัฐกานต์ อินทร์เส้ง 5520601208

12. นายเกริกฤทธิ์ ชาวันดี 5520601933

13. นางสาวเมธินี เบ็ญพาด 5520600961

15. นางสาวนันทพัทธ์ โคจรรุ่งโรจน์ 5520600929

16. นายดลวัฒน์ จันทรวิจิตร 5520601941

17. นางสาวสวรรยา ดีะประเสริฐ 5520602069

18. นายสุธินันท์ หมีเหม 5520602077

19. นางสาว ยุราวัลย์ วรกรรณ์ 5520602026

20. นางสาวสริตา ดิษฐมาลี 5520600970

21. นางสาว นิสา คำหอมกุล 5520602212

22. นางสาวอรุณลักษณ์ เลิศประเสริฐพันธ์ 5520601224

23. นางสาวธวัลพร ศุภเลิศ 5520602204

24. นางสาววชิรญาณ์ พรหมมิ 5520602239

25. นางสาวมัลลิกา ยอดมณี 5520602000

26. นางสาวนฤภร สกุลรัตน์ 5520600911

27. นางสาวอัญชลีพร พุกสอน 5520601241

28. นางสาวภัทรกันย์ แสนศรีระ 5520600945

29. นาย พิสันติ นิ่มวรรณัง 5520601984

30. นางสาวมาริสา เพ็ชร์หวล 5520602018

31. นาย สุบรรณ ลูกอินทร์ 5520600996

32. นางสาวสิตานัน ไม้ประเสริฐ 5520600988

33. นางสาวอวัศยา เหล็กแก้ว 5520601232

34. นางสาวพิมพ์ผกา ประเสริฐสวัสดิ์ 5520602221

35. นางสาวลลิตา แท่นธรรมโรจน์ 5520602042

36. นายพงศกร พุ่มแก้ว 5520601399

Vowels Sound and Consonants

Flipped Classroom

เทคนิคการสอน

เทคนิคการสอน ประโยคขอร้อง

การศึกษาในประเทศญี่ปุ่น

วันอาทิตย์ที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2558

















ชื่อสามัญ                    Pink Tecoma

ชื่อวิทยาศาสตร์       Tabebuia rosea    (Bertol.) DC.                        

วงศ์                      BIGNONIACEAE

ชื่ออื่นๆ                      ชมพูพันธุ์ทิพย์ ชมพูอินเดีย ธรรมบูชา (กรุงเทพ ฯ)ตาเบบูย่า

ลักษณะทั่วไป

   เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง  สูงราว ๘-๑๒ เมตร ใบเป็นแบบผสม  มีใบย่อย ๕ ใบบนต้นเดียวกัน  แผ่ออกคล้ายใบปาล์ม  ผิวไม่เรียบ  ปลายใบแหลม  ยาวประมาณ ๑๒ เซนติเมตร  กิ่งก้านสาขาแผ่ออกเป็นพุ่มค่อนข้างแน่น    ชมพูพันธุ์ทิพย์  ใบแก่และทิ้งใบในฤดูหนาว  ช่วงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม  หลังจากนั้นจะออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน  ดอกออกเป็นช่อตามกิ่งก้าน  ช่อละ ๕-๘ ดอก  ดอกย่อยลักษณะคล้ายดอกผักบุ้งหรือปากแตร  คือโคนดอกเป็นหลอดยาวปลายดอกบานออกเป็น ๕ กลีบ  กลีบดอกบาง ย่นเป็นจีบๆ และร่วงหล่นง่าย  จะเห็นดอกชมพูพันธุ์ทิพย์ร่วงหล่นกระจายอยู่รอบๆ ต้น  งดงามพอๆ กับที่บานอยู่บนต้น  ดอกย่อยแต่ละดอกกว้างราว ๘ เซนติเมตร  ยาวราว ๑๕ เซนติเมตร สีของกลีบดอกปกติเป็นสีชมพูสดใส  แต่มีความเข้มและจางแตกต่างกันไป  โดยเฉพาะต้นที่เกิดจากเมล็ดจะมีความผันแปรมากมาย  ตั้งแต่สีชมพูจางเกือบขาวไปจนถึงสีเข้มเกือบเป็นสีม่วงแดง เมื่อดอกชมพูพันธุ์ทิพย์ร่วงหล่นแล้ว  จะติดฝักรูปร่างคล้ายมวนบุหรี่  ยาวราว  ๑๕ เซนติเมตร  เมื่อฝักแก่ราวเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม  จะแตกออกด้านเดียวตามยาว  แล้วเมล็ดที่มีปีกก็ปลิวไปตามลมได้ไกลๆ
ต้นกำเนิดของชมพูพันธุ์ทิพย์  อยู่ในเขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้  ต่อมาได้ถูกนำไปปลูกในเขตร้อนทวีปต่างๆ อย่างแพร่หลายรวมทั้งประเทศไทย
สำหรับประเทศไทยมีบันทึกเป็นหลักฐานว่า  เป็นผู้นำเข้ามาในประเทศครั้งแรกคือ  กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิ์พินิต  และ ม.ร.ว.พันธุ์ทิพย์  บริพัตร  จึงตั้งชื่อตามสีดอก และเป็นเกียรติแก่ผู้นำเข้าว่า  ชมพูพันธุ์ทิพย์  ชื่อเดิมคือ ตาเบบูย่า  มีชื่ออื่นๆ คือ  แตรชมพู  ธรรมบูชา  ชื่อในภาษาอังกฤษคือ  Pink  Trumpet Tree ตามลักษณ์ของดอกนั่นเอง

การขยายพันธ์

การเพาะเมล็ดหรือการตอนกิ่ง

ประโยชน์

ใบต้มแก้เจ็บท้องหรือท้องเสียตำให้ละเอียดใส่แผล ลำต้น ใช้ทำฟืน และเยื่อใช้ทำกระดาษได้


วันพฤหัสบดีที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2558